หน้าที่ของบริษัทนำคนต่างด้าวมาทำงานในประเทศ (เช่น บริษัท เท็นไมล์เลเบอร์กรุ๊ป) ในฐานะตัวแทนนายจ้าง สำหรับแรงงานต่างด้าวแบบ MOU   บริษัท นำคนต่างด้าวมาทำงานในประเทศ เท็นไมล์เลเบอร์กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด เป็นบริษัทที่ได้รับอนุญาตให้ดำเนินการนำเข้าแรงงานต่างด้าวตามระบบบันทึกความเข้าใจ (MOU) ระหว่างประเทศไทยกับประเทศต้นทาง เช่น เมียนมา ลาว และกัมพูชา ในฐานะตัวแทนนายจ้าง บริษัทมีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้: 1. จัดหาและคัดเลือกแรงงานต่างด้าว: • ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเทศต้นทาง เพื่อคัดเลือกแรงงานที่มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการของนายจ้าง • จัดทำบัญชีรายชื่อแรงงาน (Name List) และส่งให้นายจ้างพิจารณา 2. ดำเนินการด้านเอกสารและการอนุญาต: • ยื่นคำร้องขอนำเข้าแรงงานต่างด้าว (Demand Letter) ต่อกรมการจัดหางาน • จัดเตรียมและดำเนินการด้านเอกสารที่จำเป็น เช่น ใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) และวีซ่าทำงาน (Non-Immigrant L-A) 3. การฝึกอบรมและเตรียมความพร้อม: • จัดอบรมให้ความรู้แก่แรงงานเกี่ยวกับกฎหมายแรงงานไทย วัฒนธรรม และข้อกำหนดในการทำงาน • ตรวจสุขภาพแรงงานเพื่อให้แน่ใจว่ามีความพร้อมในการทำงาน 4. การเดินทางและการต้อนรับ: • จัดการเรื่องการเดินทางของแรงงานจากประเทศต้นทางมายังประเทศไทย • ต้อนรับและนำแรงงานส่งถึงสถานประกอบการของนายจ้าง 5. การดูแลและบริการหลังการจ้าง: • ให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นระหว่างนายจ้างและแรงงาน • ดำเนินการต่ออายุเอกสาร เช่น ใบอนุญาตทำงาน วีซ่า และการตรวจสุขภาพ ตามที่กฎหมายกำหนด บริษัท เท็นไมล์เลเบอร์กรุ๊ป มุ่งเน้นการให้บริการแบบครบวงจร เพื่อให้นายจ้างได้รับแรงงานที่มีคุณภาพ และแรงงานได้รับการดูแลอย่างถูกต้องตามกฎหมาย บริษัทที่เป็นผู้แทนนายจ้างในการนำเข้าแรงงานต่างด้าวตามระบบ MOU มีหน้าที่ดำเนินการตามกฎหมายแรงงานและกฎหมายตรวจคนเข้าเมือง ดังนี้: ? 1. การแจ้งที่พักอาศัยของแรงงานต่างด้าว (ตามมาตรา 38 ของ พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522) • แจ้งที่พักอาศัย (แบบ ตม.30): • นายจ้างหรือผู้ให้ที่พักต้องแจ้งที่พักอาศัยของแรงงานต่างด้าวภายใน 24 ชั่วโมง นับจากวันที่แรงงานเข้าพัก • แจ้งผ่าน: • สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) ในพื้นที่ หรือ • ระบบออนไลน์ที่เว็บไซต์ www.immigration.go.th • เอกสารประกอบ: • แบบ ตม.30 • สำเนาหนังสือเดินทาง (Passport) ของแรงงาน • สำเนาทะเบียนบ้านหรือสัญญาเช่าของที่พัก ? 2. การรายงานตัวทุก 90 วัน (90-Day Report) ตามมาตรา 37(5) ของ พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 • ผู้ที่ต้องรายงานตัว: แรงงานต่างด้าวที่พำนักในไทยเกิน 90 วัน • ระยะเวลารายงาน: ทุก ๆ 90 วัน นับจากวันที่แรงงานเดินทางเข้ามาในประเทศไทย • วิธีการรายงาน: • รายงานด้วยตนเองที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง • รายงานทางไปรษณีย์ • รายงานออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ www.immigration.go.th • เอกสารที่ต้องใช้: • สำเนาหนังสือเดินทาง • สำเนาใบอนุญาตทำงาน • ใบรับรองการแจ้งที่พัก (ตม.30) • แบบฟอร์มรายงานตัวครบ 90 วัน (ตม.47) ? 3. การแจ้งเข้า - แจ้งออกแรงงานต่างด้าว (กรมการจัดหางาน) ตาม พ.ร.ก.การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม • 3.1 การแจ้งเข้า (จจ.1): • แจ้งการรับแรงงานเข้าทำงาน ภายใน 15 วัน นับจากวันที่แรงงานเริ่มงาน • ยื่น แบบ จจ.1 ที่สำนักงานจัดหางานจังหวัด หรือผ่านระบบออนไลน์ e-Workpermit • เอกสารที่ต้องใช้: • สำเนาหนังสือเดินทาง • สำเนาใบอนุญาตทำงาน • สำเนาสัญญาจ้าง • 3.2 การแจ้งออก (จจ.1): • แจ้งการสิ้นสุดการจ้างงาน (ลาออก เลิกจ้าง หรือแรงงานหลบหนี) ภายใน 15 วัน • ยื่น แบบ จจ.1 ที่สำนักงานจัดหางานจังหวัด หรือผ่านระบบออนไลน์ e-Workpermit • เอกสารที่ต้องใช้: • สำเนาหนังสือเดินทาง • สำเนาใบอนุญาตทำงาน • หนังสือบอกเลิกสัญญาจ้าง (ถ้ามี) ? 4. การแจ้งออกจากระบบประกันสังคม (กรณีเลิกจ้าง) • แจ้งออกแรงงานต่างด้าวจากระบบประกันสังคมภายใน 15 วัน หลังจากสิ้นสุดการจ้าง • ยื่น แบบ สปส.6-09 (แจ้งออกผู้ประกันตน) ที่สำนักงานประกันสังคม หรือผ่านระบบออนไลน์ ⚠️ บทลงโทษหากไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย: • ไม่แจ้งที่พักภายใน 24 ชั่วโมง (ตม.30): ปรับไม่เกิน 10,000 บาท • ไม่รายงานตัว 90 วัน: ปรับไม่เกิน 5,000 บาท และปรับเพิ่มวันละ 200 บาท จนกว่าจะรายงานตัว • ไม่แจ้งเข้า-แจ้งออกแรงงานต่อกรมการจัดหางาน (จจ.1): ปรับไม่เกิน 100,000 บาท ต่อแรงงาน 1 คน • ไม่แจ้งออกจากประกันสังคม (สปส.6-09): ปรับไม่เกิน 20,000 บาท ✅ สรุปหน้าที่สำคัญของบริษัทตัวแทนนายจ้าง (บริษัท เท็นไมล์เลเบอร์กรุ๊ป): 1. แจ้งที่พักอาศัย (ตม.30): ภายใน 24 ชั่วโมง หลังแรงงานเข้าพัก 2. รายงานตัวทุก 90 วัน (ตม.47): ทุกๆ 90 วัน ตามกฎหมาย ตม. 3. แจ้งเข้า - แจ้งออกการจ้างงาน (จจ.1): ภายใน 15 วัน ต่อกรมการจัดหางาน 4. แจ้งออกจากระบบประกันสังคม (สปส.6-09): ภายใน 15 วัน การปฏิบัติตามขั้นตอนทั้งหมดนี้ไม่เพียงแต่ช่วยให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายอย่างถูกต้อง แต่ยังช่วยลดความเสี่ยงทางกฎหมายและค่าปรับต่าง ๆ อีกด้วย.      ...

  แรงงานต่างด้าวที่เอกสารครบวาระ 4 ปี   ในปี 2566 และ 2567 สามารถดำเนินการยื่นต่อเอกสารแรงงานต่างด้าว ได้อีก 4 ปี โดยได้รับ วีซ่าทำงาน ใบอนุญาตทำงาน คราวละ 2 ปี และสามารถต่อเอกสารแรงงานต่างด้าว ใบอนุญาตทำงาน วีซ่าทำงาน ตรวจโรคต่างด้าว ในประเทศไทยได้อีก  2 ปี รวมวาระการทำงานครั้งใหม่ คือ อีก 4 ปี นายจ้างที่ต้องการต่อเอกสารแรงงานต่างด้าว สามารถสอบถามได้ทันที  แรงงานไม่ต้องพำนัก ณ.ประเทศต้นทาง เอกสารหนังสือเดินทางต้องมีอายุมากกว่า 2 ปี 6 เดือน กรณีเอกสารหนังสือเดินทางของแรงงานต่างด้าว อายุไม่ถึง สามารถทำการขอออกเล่มหนังสือเดินทางของแรงงานต่างด้าวได้ใหม่ณ.สถานฑูตของแรงงานต่างด้าว ประจำประเทศไทย ขั้นตอนไม่ยุ่งยาก ให้ บริษัท นำคนต่างด้าวมาทำงานในประเทศเท็นไมล์เลเบอร์กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด ดำเนินการแทนได้ทันที ค่าใช้จ่ายเพียง 13,000-18,000 เท่านั้น    ต่อเอกสารแรงงานต่างด้าว แรงงานต่างด้าวครบวาระ 4 ปี MOUครบวาระ 4 ปี MOU ครบวาระ ต่อใบอนุญาตทำงาน ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว MOU-RETURN แรงงานต่างด้าว ที่สามารถเข้ามาทำงานในประเทศไทยได้ โดยอาศัยสนธิสัญญาระหว่างประเทศทางด้านการจัดส่งแรงงานข้ามชาติ หรือ ที่เราเรียกกันว่า แรงงาน MOU นั้น ได้กำหนดให้ มี แรงงานจากประเทศเมียนมา แรงงานพม่า แรงงานกัมพูชา และ แรงงานลาว ส่วนแรงงานเวียดนามได้กำหนดในลักษณะของประเภทกิจการก่อสร้างเป็นหลัก แต่คนงานต่างด้าวทั้งหมด ที่สามารถเข้ามาทำงานในประเทศไทยได้นั้น จะต้องทำงานในตำแหน่ง กรรมกร และ แม่บ้าน เท่านั้น  ทั้งนี้ไม่อนุญาตให้กิจการประเภทรับเหมาแรงงาน นำเข้าแรงงานต่างด้าวแบบMOU มาประกอบธุรกิจกรือเป็นลูกจ้างในลักษณะกิจการรับเหมาแรงงาน มาดูกันว่าเมื่อนายจ้าง หรือ ผู้ประกอบการตกลงนำเข้าแรงงานต่างด้าวเข้ามาแล้วนั้น แรงงานต่างด้าว แรงงานนำเข้าแบบ MOU กลุ่มนี้จะมีใบอนุญาตทำงาน ที่ปรากฎชื่อนายจ้างที่ถูกต้อง ด้านหลังบัตรเท่านั้น และจะมีสัญญากับนายจ้างที่มีชื่อหลังบัตรเป็นระยะเวลา  2 ปี  กรณีคนงานต่างด้าว หรือ คนงานนำเข้าแบบMOU แรงงานต่างด้าว MOU ต้องการเปลี่ยนนายจ้าง จะไม่สามารถกระทำได้โดยอิสระ แต่ต้องเข้าเงื่อนไขการเปลี่ยนนายจ้างแรงงานต่างด้าว 6 กรณี ข้างต้น จึงจะสามารถย้ายนายจ้างได้ก่อนครบกำหนดเลิกจ้าง 2 ปี แรงงานต่างด้าวเปลี่ยนนายจ้าง แจ้งเข้า แจ้งออกแรงงานต่างด้าว คนงานต่างด้าว หาคนงานต่างด้าว จัดส่งคนงานต่างด้าว คนงาน MOU คนงานพม่า คนงาลาว คนงานกัมพูชา แรงงานฝ่ายผลิต คนงานฝ่ายผลิต แรงงาน MOU      ...

เตรียมตัวให้พร้อม เมื่อต้องมีการใช้แรงงานต่างด้าว   แรงงานต่างด้าว คือ ผู้ที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย ทั้งในรูปแบบ คนงาน MOU และ แรงงานหมุนเวียนภายในประเทศ ทั้งนี้นายจ้างที่ต้องการใช้แรงงานต่างด้าว ต้องทำความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ ดังต่อไปนี้   เอกสารแรงงานต่างด้าว ต้องประกอบด้วยส่วนหลัก ๆ คือ หนังสือเดินทง ใบอนุญาตทำงาน วีซ่าทำงาน และ การตรวจโรคต้องห้าม ของคนเข้าเมือง   เมื่อพบเอกสารเรียบร้อยแล้ว เอกสารต้องยังมีอายุ คนงานต่างด้าวที่สามารถทำงานได้ในราชอาณาจักรไทย ต้องมีเอกสารและ ไม่หมดอายุ ใบอนุญาตทำงานของคนงานต่างด้าว ต้องมีซื่อตรงกับนายจ้าง ตรงทั้งชื่อ และ ตรงทั้งลักษณะงาน    หากพบ แรงงานต่างด้าว มีเอกสารอย่างหนึ่งอย่างใดไม่ครบถ้วน สามารถดำเนินการเปลี่ยนเอกสารของคนงานต่างด้าว ให้ถูกต้องได้ที่ สำนักงานจัดหางานประจำจังหวัดของนายจ้าง หรือที่ส่วนกลาง คือ กรมการจัดหางานตามแต่ละเขตของพื้นที่ ใน กรุงเทพมหานคร    เพียงเท่านี้ายจ้าง ที่ใช้ แรงงานต่างด้าว ก็จะสามารถจ้างคนงานต่างด้าวได้อย่างสบายใจ       ...

จัดส่งแรงงานลาว   สะดวกรวดเร็ว วัฒนธรรมใกล้เคียงคนไทย สบายเรื่องการสื่อสาร รวมทั้งการเดินเอกสาร การยื่นเอกสารขอคำร้องการนำเข้าแรงงานต่างด้าว สัญชาติลาว สามารถทำได้ทันที สะดวก ใช้ระยะเวลาดำเนินการเพียง 30 วัน นายจ้างสามารถคัดเลือกแรงงานต่างด้าว ได้ด้วยตนเอง เช่นเดียวกับสัญชาตอื่น (ไม่มีค่าใช้จ่าย) สนใจบริการนำเข้าแรงงานลาว นำเข้าแรงงานต่างด้าวทุกสัญญาชาติ นำเข้าแรงงานMOU ติดต่อเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญได้ทันที 098-270-4840 หรือ 086-528-4820      ...

        ภาพบรรยากาศการทำงานแทนนายจ้าง   การทำงานแทนนายจ้าง การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวทั้งระบบ เริ่มตั้งแต่การนำเข้าแรงงาน สรรหาแรงงานต่างด้าว ยื่นเอกสารแทนนายจ้างในทุก ๆ ขั้นตอน ตลอดจนขอใบอนุญาตทำงาน ส่งมอลแรงงานต่างด้าวที่ตรงกับความต้องการ มีทักษะที่เหมาะสมกับงานที่ได้รับมอบหมาย รวมถึงการจัดให้มีการอบรมหนีไฟ อบรมการทำงานในที่อับอากาศ เพื่อเป้นการเพิ่มทักษะความรู้ความชำนาญให้กับแรงงานต่างด้าว คนงานต่างด้าว อีกด้วย      ...

     นำส่งแรงงาน นำเข้าแรงงาน MOU คนงานต่างด้าว คนงานลาว   การนำเข้าแรงงานจากประเทศลาว โดยเฉพาะในกลุ่มคนงานที่เข้ามาภายใต้ MOU (Memorandum of Understanding) เป็นกระบวนการที่มีระเบียบและกฎเกณฑ์ชัดเจน เพื่อให้มั่นใจว่าแรงงานที่เข้ามาทำงานในประเทศไทยมีคุณภาพและถูกต้องตามกฎหมาย นี่คือขั้นตอนและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง: การเตรียมเอกสารนำเข้าแรงงาน: หนังสือเดินทาง (Passport): แรงงานต้องมีหนังสือเดินทางที่ถูกต้อง ใบอนุญาตทำงาน (Work Permit): ต้องมีใบอนุญาตทำงานที่ออกโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย สัญญาจ้างงาน: ต้องมีสัญญาจ้างงานที่ชัดเจนระหว่างนายจ้างและแรงงาน การอบรมก่อนเริ่มงาน: อบรมด้านความปลอดภัย (Safety Training): เพื่อให้แรงงานมีความรู้และทักษะด้านความปลอดภัยในการทำงาน อบรมด้านกฎหมายและสิทธิแรงงาน: ให้แรงงานเข้าใจถึงสิทธิและหน้าที่ของตนเองตามกฎหมายแรงงานไทย อบรมด้านวัฒนธรรมและการปรับตัว: เพื่อช่วยให้แรงงานสามารถปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมการทำงานในประเทศไทยได้ดีขึ้น การตรวจสุขภาพ: ตรวจสุขภาพเบื้องต้นเพื่อให้แน่ใจว่าแรงงานมีสุขภาพที่ดีและสามารถทำงานได้ตามที่กำหนด การประกันสุขภาพและสวัสดิการ: แรงงานต้องมีประกันสุขภาพและสวัสดิการตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อให้มั่นใจว่าพวกเขาจะได้รับการดูแลในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วย การดำเนินการที่ถูกต้องตามขั้นตอนเหล่านี้จะช่วยให้การนำเข้าแรงงานจากประเทศลาวเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังช่วยสร้างความมั่นใจให้กับทั้งนายจ้างและแรงงาน ว่าทั้งสองฝ่ายจะได้รับสิทธิและหน้าที่ที่เป็นธรรมตามกฎหมาย      ...

      การแจ้งที่พักอาศัยการแจ้งอยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 90 วัน   การแจ้งอยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 90 วัน หรือ การรายงานตัว 90 วัน ของแรงงานต่างด้าวต่างด้าวที่เข้ามาทำงาน หรือ อยู่อาศัยในราชอาณาจักรไทย ทุกคน ต้องแจ้งที่พักอาศัยแก่เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน ณ.สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง การแจ้งอยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 90 วัน  "คนต่างด้าว ซึ่งได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวแล้ว ถ้าอยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน คนต่างด้าวผู้นั้นมีหน้าที่ต้องรายงานตัว แจ้งที่พักอาศัยต่อเจ้าพนักงาน สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ทุก 90 วัน หากท้องที่ใดมีที่ทำการตรวจคนเข้าเมืองตั้งอยู่จะแจ้งต่อเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ที่ทำการแก่งนั้น ทั้งนี้เป็นไปตามมาตรา 37(5) แห่ง พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522" วิธีการแจ้ง คนต่างด้าวสามารถดำเนินการแจ้งที่พักอาศัยทุก 90 วันได้ทั้งหมด 3 ช่องทาง ดังนี้ คนต่างด้าวแจ้งด้วยตนเอง หรือมอบหมายให้ผู้อื่นดำเนินการแทน ขั้นตอนนี้ ทางบริษัทนำคนต่างด้าวมาทำงานในประเทศเท็นไมล์เลเบอร์กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด รับดำเนินการแทนคนต่างด้าว มีค่าบริการ 100-200 บาท ใช้ระยะเวลาเพียง  1 วัน รับส่งเอกสารถึงยังสถานประกอบการ สามารถติดต่อดำเนินการแทนคนต่างด้าว ได้ที่ 098-270-4840 หรือ 086-528-4820 คนต่างด้าวสามารถส่งไปรษณีย์แจ้งได้ คนต่างด้าว แจ้งผ่านทางอินเตอร์เน็ต ในเว็ปไซต์ของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง การแจ้งที่พักอาศัยออนไลน์ คนต่างด้าว ต้องแจ้งที่พักอาศัยก่อน 15 วัน หรือหลัง 7 วัน นับจากวันครบกำหนด หากเกิดกว่ากำหนดนัด หรือเกินกำหนดที่จะต้องแจ้ง คนต่างด้าว แรงงานต่างด้าว คนงานต่างด้าว ต้องมารายงานตัวด้วยตนเองเพื่อดำเนินการเปรียบเทียบปรับ *** กรณีที่เกินกำหนดการแจ้งที่พักอาศัย คนต่างด้าว แรงงานต่างด้าว คนงานต่างด้าว คนงานMOU จะต้องถูกดำเนินการเปรียบเทียบปรับ 2,000 บาท ***   ** กรีณีคนต่างด้าว แรงงานต่างด้าว คนงานต่างด้าว แรงงานนำเข้าMOU ต้องการเดินทางออกนอกประเทศก่อนครบกำหนดรายงานตัวครั้งต่อไป เมื่อเดินทางกลับมาในราชอาณาจักรไทย ให้รายงานตัวแจ้งที่พักครั้งต่อไป เมื่อครบกำหนด 90 วัน นับแต่วันเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรไทยครั้งล่าสุด** การรับแจ้งที่พักอาศัย กรณีคนต่างด้าวอยู่เกิน 90 วัน ไม่ใช่เป็นการขออยู่ต่อในราชอาณาจักร  คนต่างด้าวที่ แรงงานต่างด้าว หรือ แรงงานนำเข้าMOU เมื่ออยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 90 วันและไม่แจ้งที่พักอาศัยจะต้องเสียค่าปรับจำนวน 2,000 บาท กรณีถูกจับกุมตัวมาไม่ว่ากรณีใดใด ต้องเสียค่าปรับ 5,000 บาท และปรีบอีกไม่เกินวันละ 200 บาท จนกว่าจะปฎิบัติให้ถูกต้อง ตามมาตรา 76 แห่ง พ.ร.บ. คนเข้าเมือง ฯ      ...

   การเปลี่ยนนายจ้างของแรงงานต่างด้าว สำหรับแรงงานต่าวด้าวนำเข้า MOU   การเปลี่ยนนายจ้างของแรงงานต่างด้าวหรือการแจ้งเข้าทำงานของแรงงานต่างด้าวสามารถเปลี่ยนได้โดยมิใช่ความผิดของตน เงื่อนไขมีดังนี้ นายจ้างเสียชีวิตหรือกิจการล้มละลาย นายจ้างไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือไม่จ่ายค่าจ้าง นายจ้างทารุณกรรม นายจ้างให้คนงานทำงานในสภาพที่มีอันตราย คนงานต่างด้าวและนายจ้างรายใหม่ยินยอมชดใช้ค่าเสียหายกับนายจ้างรายเดิม หากแรงงานต่างด้าวคนนั้นเป็นแรงงานต่างด้าวนำเข้าเดิม นายจ้างรายใหม่ต้องวางหลักประกัน 1,000 บาท ทั้งนี้ การแจ้งเข้าแรงงานต่างด้าวต้องกระทำภายในระยะเวลา 30 วัน กรณีที่ 2 แรงงานต่างด้าวถือบัตรสีชมพูหรือได้รับการพิสูจน์สัญชาติสามารถเปลี่ยนนายจ้างได้โดยเข้าเงื่อนไขดังนี้ นายจ้างเลิกจ้าง นายจ้างทารุณกรรมลูกจ้าง นายจ้างไม่ปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานไทย นายจ้างล้มละลาย นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานในสภาพที่เป็นอันตราย ทั้งนี้ แรงงานต่างด้าวกลุ่มนี้ต้องแจ้งเข้าแรงงานภายในระยะเวลา 15 วันเท่านั้น      ...

         การเซ็นต์สัญญาว่าจ้าง   ตามขั้นตอนของการนำเข้าแรงงานเมียนมา ในรูปแบบการนำเข้าแรงงานแบบ MOU แรงงานต่างด้าวจะได้รับทราบขั้นตอนการทำงานอย่างละเอียด พร้อมทั้งสวัสดิการค่าแรงค่าจ้าง ในขั้นตอนนี้แรงงานต่างด้าวยังได้พบกับนายจ้างหรือตัวแทนนายจ้างเพื่อทราบรายละเอียดการทำงาน ลักษณะงานที่ชัดเจน แรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย คนงานฝ่ายผลิต การขจัดปัญหาได้แรงงานต่างด้าวไม่ตรงกับลักษณะงาน หรือ ไม่ทราบว่าตนเองต้องมาทำงานอะไรจะหมดไปในขั้นตอนนี้ สบายใจทั้งนายจ้างและลูกจ้าง แรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทำงานในราชอาณาจักรไทย มีความจำเป็นย่างยิ่งที่ต้องได้รับการตรวจสุขภาพก่อนเข้ามาในราชอาณาจักรไทย  การตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว ถือเป็นสิ่งจำเป็นเพราะนอกจากจะเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้ว ทั้งกฎหมายทางด้านแรงงาน และสาธารณสุช ยังส่งผลต่อองค์กรในหลาย ๆ ด้าน อาทิต ภาพลักษณ์ที่เหมาะสม ความเชื่อถือของลูกค้า และ ผู้ประกอบการ ขวัญกำลังของแรงงานต่างด้าว ผลการตรวจสุขภาพของแรงงานต่างด้าว ต้องแนบและยื่นในการขอรับใบอนุญาตทำงาน ตามขั้นตอนของการนำเข้าแรงงานต่างด้าวทุกรูปแบบ ทั้งการนำเข้าแรงงานต่างด้าวแบบMOU แรงงานต่างด้าว นำเข้าแรงงาน MOU บริการนำเข้าแรงานต่างด้าว การต่อใบอนุญาตทำงานก็จำเป็นต้องใช้เช่นกัน  ในปัจจุบันมีหลาย ๆ หน่วยงานให้บริการ ทั้งภาครัฐและเอกชน      ...

  อบรมแรงงานนำเข้าแบบ MOU ก่อนส่งมอบให้กับนายจ้าง   นำเข้าแรงงานต่างด้าวแบบครบวงจร พร้อมบริหารจัดการแรรงต่างด้าวแทนฝ่ายบุคคลทั้งระบบ รวมถึงการจัดทำเอกสาร ต่อใบอนุญาตทำงาน ออกบัตรสีชมพู ต่ออายุพาสปอร์ต      ...